นิราศ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ ให้ความหมายของนิราศไว้ว่า “ก. ไปจากระเหระหน ปราศจาก น. เรื่องราวที่พรรณนาถึงการจากกันหรือการที่อยู่ไปในที่ต่าง ๆ เป็นต้น มักแต่งเป็นกลอนหรือโคลง เช่น นิราศนรินทร์ นิราศเมืองแกลง” อ่านต่อ https://sites.google.com/site/wrrnkhdiniras/home/niras/prapheth-khxng-ni-ras
วันอังคารที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2560
9 บทอาขยาน
บทอาขยาน แบ่งออกเป็น ๓ ประเภทคือ บทหลัก บทรอง และ บทอิสระ บทอาขยานต่อไปนี้รวบรวมและเรียง
ลำดับโดย กรมวิชาการ ๒๕๔๒ คัดเลือกโดย คณะกรรมการคัดเลือกอาขยานภาษาไทยสำหรับนักเรียน ในคำสั่ง กระทรวงศึกษาธิการ วก ๓๗๒/ ๒๕๔๒ อ่านต่อ https://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99
วันจันทร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
8 เวสสันดรชาดก
ทธศาสนิกชนชาวไทยนับถือกันมาแต่ครั้งโบราณว่า มหาเวศสันดรเป็นชาดกที่สำคัญกว่าชาดกเรื่องอื่น เพราะว่าด้วยเรื่องราวที่ปรากฏบารมีของพระโพธิสัตว์อยู่โดยบนิบูรณ์ทั้ง ๑๐ บารมี อ่านต่อ https://sites.google.com/site/phasathiym4/raywicha-phasa-thiy-chan-mathymsuksa-pi-thi4/bth-thi8-reux-ngm-hach-ti-hrux-mha-wessandr
7 ทุกข์ของชาวนาไทย
บทความเรื่อง ทุกข์ของชาวนาในบทกวี มีที่มาจากหนังสือรวมบทพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง มณีพลอยร้อยแสง ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ อ่านต่อ http://thnthai227133.blogspot.com/2014/01/blog-post.html
6 หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงใช้พระนามแฝงว่า “รามจิตติ” เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ “ ดุสิตสมิต” เมื่อ พ.ศ.๒๔๖๔ ลักษณะการพระราชนิพนธ์เป็นรูปแบบของจดหมาย มีจำนวน ๑๘ ฉบับ อ่านต่อ https://sites.google.com/site/phasathiym4/raywicha-phasa-thiy-chan-mathymsuksa-pi-thi4/bth-thi5-reuxng-hawci-chay-hnum
5 มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์ เป็นวรรณคดี คำสอน ผลงานพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงนำหลักธรรม ที่เป็นพระคาถาบาลีจากพระไตรปิฏกตั้งแล้วแปลถอดความเป็นคำประพันธ์ที่ ไพเราะ มีความงดงามทั้งด้านเสียงและความหมาย อ่านต่อ https://auanclub9.wordpress.com/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99/%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%89%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B9%8C/
4 นิราศนรินคำโคลง
นิราศ เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา อ่านต่อ https://sites.google.com/site/phasathiym4/raywicha-phasa-thiy-chan-mathymsuksa-pi-thi4/bth-thi4-reuxng-ni-ras-nri-thr-kha-kholng
3 อิเหนา
อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ และทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ และยังเป็นหนังสือที่ดี ในทางที่ตะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของชาวชวา อ่านต่อ https://sites.google.com/site/phasathiym4/raywicha-phasa-thiy-chan-mathymsuksa-pi-thi4/bth-thi2-reuxng-xihena-txn-suk-ka-h-mangku-hning
2 นิทานเวตาล
นิทานเวตาล เป็นวรรณกรรมสันสกฤตโบราณ เรื่อง เวตาลปัญจวิงศติ หรือนิทานเวตาล 25 เรื่อง ซึ่งถูกเล่าโดยกวีชื่อ ศิวทาส และได้ถูกเล่าขานกันต่อมากว่า 2,500 ปีล่วงมาแล้ว เดิมนิทานเวตาลได้เรียบเรียงเป็นร้อยกรอง ชื่อ ลิลิตเพชรมงกุฎ โดยเจ้าพระยาพระคลัง (หน) อ่่านต่อ http://kapukluk.com/nitan/vetal.php
1 การวิจักษ์วรรณคดี
การวิจักษ์วรรณคดี หมายถึง การอ่านวรรณคดี โดยใช้ความคิดพิจารณาไตร่ตรอง กลั่นกรองแยกแยะและแสวงหาเหตุผล เพื่อประเมินคุณคาของวรรณคดีไดอยางมีเหตุผล และพิจารณาไดว่าหนังสือแต่ละเรื่องแต่งดีแต่งด้อย อ่านต่อ http://www.trueplookpanya.com/new/asktrueplookpanya/questiondetail/9798
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)